DronTech Asia 2024 งานนิทรรศการและการประชุมสัมมนาชั้นนำของประเทศไทยที่เน้นเรื่องโดรนและเทคโนโลยี จัดขึ้นในวันที่ 25 – 27 พฤศจิกายน 2567 ตั้งแต่เวลา 10:00 – 18:00 น. ที่ อาคาร 12 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี…
น.ต.ดร.วัฒนา มานนท์ คณบดีวิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มธบ. กล่าวว่า สำหรับวัตถุประสงค์ของการจัดสัมมนาในครั้งนี้ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนาบุคลากร และส่งเสริมความร่วมมือด้านอากาศยานไร้คนขับ Drone ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ให้ขยายไปในวงกว้างมากขึ้น เพื่อนำไปวางแผน และศึกษาต่อ รวมถึง การกำหนดทิศทางการกำกับดูแลการใช้โดรนในประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดการต่อยอดการนำโดรนมาใช้อย่างแพร่หลายและเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไปกองทัพกับการพัฒนาอากาศยานไร้คนขับ นาวาอากาศเอกทรงศักดิ์ ธรรมสาร นายทหารฝ่ายเสนาธิการ…
ระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เป็นประธานในพิธีเปิดงาน “วันถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน" พร้อมมอบประกาศนียบัตรผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการพ่นวัตถุอันตรายทางการเกษตรด้วยอากาศยานในวันที่ 8 – 9 มีนาคม 2566 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด กรมวิชาการเกษตร ร่วมกับ สมาคมการค้านวัตกรรมเพื่อการเกษตรไทย (TAITA) สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกระจายเสียง…
เปิดตัว “ICON KASET” (ไอคอน เกษตร) แอปพลิเคชันเรียกโดรนครบวงจร เชื่อมต่อเกษตรกรกับผู้ขับโดรนทั่วประเทศ พร้อมเปิดโอกาสให้เกษตรกรทุกคนสามารถเข้าถึงการใช้บริการ โดรนเกษตรได้ง่ายเพียงปลายนิ้ว ประหยัดแรงงานคน ต้นทุนและเวลาในการพ่นยาหรือปุ๋ย พร้อมประกาศเดินหน้าขับเคลื่อนการเกษตรไทย ด้วย BCG Economy Model เปลี่ยนระบบ “ทำมากแต่ได้น้อย” ไปสู่ “ทำน้อยแต่ได้มาก”…
กรมส่งเสริมการเกษตร สมาคมการค้านวัตกรรมเพื่อการเกษตรไทย (ไททา) กรมวิชาการเกษตร โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และภาคเอกชน ร่วมจัดทำโครงการต้นแบบใช้โดรนเป็นเครื่องมือทำการเกษตรอัจฉริยะในด้านอารักขาพืช ควบคู่กับนวัตกรรมอื่น ๆ ที่เหมาะสม มอบโดรนภาคการเกษตรให้กับกลุ่มแปลงใหญ่ข้าวปลอดภัย และทุเรียนภูเขาไฟ จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมด้านการเกษตรของชุมชนสู่ระบบเกษตรอัจฉริยะ ภายใต้แนวคิด “Next of The Next เกษตรไทยก้าวไปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม”…
ปัจจุบันโดรนหรืออากาศยานไร้คนขับ (UAV) ที่เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญของการสำรวจและถ่ายภาพมากขึ้น ขณะที่การควบคุมเพื่อป้องกันไม่ให้ถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการก่อการร้าย ยังมีข้อจำกัดที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ และมีราคาที่สูงอยู่ ด้วยเหตุนี้โครงการการวิจัยและพัฒนาระบบเรดาร์เพื่อการตรวจจับโดรนเพื่อป้องกันการบินโดรนที่ไม่ได้รับอนุญาต ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ กทปส. จึงได้ทำการวิจัยและคิดค้นพัฒนาระบบตรวจจับโดรนขึ้นมา รองศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ บุญภูงา หัวหน้าโครงการการวิจัยและพัฒนาระบบเรดาร์เพื่อการตรวจจับโดรนเพื่อป้องกันการบินโดรนที่ไม่ได้รับอนุญาตของคณะวิศวกรรมศาสตร์…
บริษัท วรุณา (ประเทศไทย) จำกัด หรือ VARUNA ภายใต้เครือ เอไอ แอนด์ โรโบติกส์เวนเจอร์ส หรือเออาร์วี (ARV) จับมือบริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จำกัด สร้างสรรค์โครงการเพื่อสังคม “ARV x Samsung CSR Collaboration Project” เพิ่มขีดความสามารถการเกษตรไทยก้าวสู่ยุคสมาร์ทฟาร์ม นำร่องด้วยกิจกรรม “อบรมทักษะนักบินอากาศยานไร้คนขับ (Drone) เพื่อการเกษตร” แก่เกษตรกรไทยรุ่นใหม่…
บริษัท เอไอ แอนด์ โรโบติกส์ เวนเจอร์ส จำกัด หรือ เออาร์วี (ARV) เปิดตัว “Horrus: Fully Automated Drone Solution” เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ (Drone) ที่สามารถทำงานได้ด้วยการขับเคลื่อนตัวเองอย่างเป็นอิสระ(Unmanned Aerial Vehicle)…