TOD

เจาะแผน 3 ปี SRTA ปรับ TOD “บางซื่อ-ธนบุรี” ชูคอนเซ็ปต์ Smart City สร้างเมืองแห่งอนาคต

การพัฒนาพื้นที่รอบๆ สถานีรถไฟ หรือ (TOD) นั้นเป็นเป้าหมายของหลักของการพัฒนาการเดินทางในอนาคตของหลายๆ ประเทศทั่วโลก สำหรับประเทศไทย หากเจาะลงมาที่ กทม. ถึงแม้จะมีรถไฟฟ้าใช้มามากกว่า 20 ปี แล้ว แต่การปรับปรุงพื้นที่รอบสถานี้นั้นยังไม่เห็นเป็นรูปธรรม หน่วยงานอย่าง SRTA (เอสอาร์ที แอสเสท) จึงถูกก่อตั้งมาเมื่อปีที่ผ่านมา รับหน้าเป็นแม่งานของการพัฒนาพื้นที่รอบๆ…

2 years ago

TOD กับการลดมลภาวะทางอากาศ ชี้ชัด! หมอกสีเหลืองของ “กรุงเตหะราน” แก้ไขด้วยการพัฒนา TOD

ปัญหามลพิษ และฝุ่นควันขนาดเล็กตั้งแต่ PM 2.5-10 ได้กลายเป็นปัญหาระดับโลกที่ทุกประเทศต้องเผชิญ ซึ่งมากน้อยแตกต่างกันออกไป แต่สำหรับกรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน มลพิษเหล่านี้คือภัยพิบัติของประเทศ ถึงขนาดองค์การอนามัยโลกประกาศว่า “กรุงเตหะราน” เป็นหนึ่งในเมืองที่มีมลพิษทางอากาศมากที่สุดในโลก อยู่อันดับที่ 12 จาก 26 เมืองใหญ่ ในปี พ.ศ. 2559…

2 years ago

TOD เพิ่มความปลอดภัย ยกระดับคุณภาพชีวิตเด็กนักเรียนได้อย่างไร

ในช่วงเวลาโรงเรียนเปิดเทอมของทุกปี เรามักพบเห็นสภาพการจราจรติดขัดในช่วงเช้าและเย็น โดยเฉพาะบริเวณหน้าโรงเรียนที่ผู้ปกครองขับรถมารับ-ส่ง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศไทย หลายๆ ประเทศในแถบเอเชียก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน แต่ไม่ใช่กับประเทศญี่ปุ่น ที่ขึ้นชื่อเรื่องการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ และนำแนวทางการพัฒนาในรูปแบบ TOD (Transit-Oriented Development) การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ มาใช้ในการพัฒนาเมือง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเด็กชาวญี่ปุ่นให้ดีขึ้น ตั้งโรงเรียนใกล้บ้าน ประเทศญี่ปุ่นมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบ ในเรื่องการศึกษามีการกำหนดให้มีโรงเรียนในรัศมีทุก 4 กม.…

2 years ago

TOD เพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

จากทะเล สู่ท้องฟ้า จากภูเขา สู่สายน้ำ ทอดยาวไปยัง โบราณสถาน ถึง ชุมชนที่มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมสืบทอดมาหลายชั่วอายุคน ความงดงามตามธรรมชาติและวิถีของผู้คนที่แตกต่างกันออกไป ได้กลายมาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ผู้คนนิยมเดินทางมาแวะเวียนเที่ยวชม แต่ด้วยรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวส่วนใหญ่ มักจะเป็นไปในรูปแบบการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งทำให้เกิดปัญหาเรื่องมลภาวะ และสภาพการจราจรที่ติดขัดตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทำให้พื้นที่ธรรมชาติ และวิถีชุมชนดั้งเดิมถูกทำลายไปอย่างน่าเสียดาย แต่ไม่ใช่สำหรับแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับการพัฒนาตามแนวทาง TOD (Transit-oriented…

2 years ago

“ไตรทิพย์”ย้ำชัด! การพัฒนา TOD กับการหาแหล่งเงินทุน รัฐต้องนำหน้า เอกชนตามหลัง

แหล่งเงินทุนเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญ ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศทุกระดับ ซึ่งเงินทุนอาจจะได้มาจากการจัดเก็บภาษี จากแหล่งกองทุนระหว่างประเทศ การออกพันธบัตร หรือแม้กระทั่งการเปิดประมูลให้เอกชนเข้าไปลงทุน และให้ผลตอบแทนในรูปแบบต่างๆ แต่มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรูปแบบหนึ่งที่มีความพิเศษแตกต่างกันออกไป นั่นคือการพัฒนาในรูปแบบ TOD (Transit-Oriented Development) หรือการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ ซึ่งจัดว่าเป็นพื้นที่ ที่มีความพิเศษ เพราะจะต้องเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนเท่านั้น ถึงจะพัฒนาได้สำเร็จ เมื่อเรามองกลับมาที่ประเทศไทยจึงเกิดคำถามตามมาว่า…

2 years ago

การออกแบบพื้นที่ TOD สำหรับผู้พิการ

ทุกครั้งที่เรารู้สึกถึงการใช้ชีวิตในเมืองอย่างยากลำบาก จะมีคนกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตที่ยากลำบากกว่า และในทุกวันที่เราทำสิ่งที่ดูง่ายแค่การขยับเท้าก้าวเดิน จะมีคนอีกกลุ่มที่ทุกย่างก้าวคือสิ่งที่ต้องระวัง คนกลุ่มนั้น คือ ผู้พิการ กลุ่มคนที่เราลืมไปว่าพวกเขาก็มีตัวตนขับเคลื่อนสังคมในมุมใดมุมหนึ่ง หากเรามองโดยรอบเราจะพบว่าเมืองส่วนใหญ่ ยังขาดการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการมากมาย ตามหลักการออกแบบพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ TOD (Transit Oriented Development) ได้คำนึงถึงพื้นฐาน การออกแบบพื้นฐานเดินทางที่จูงใจให้ประชาชนทุกคนหันมาเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ ก็ได้วางแนวทางการออกแบบสำหรับกลุ่มผู้พิการเอาไว้เช่นกัน เข้าถึง เท่าเทียม…

2 years ago

“TOD” ประเทศไทย อยู่จุดไหนของการพัฒนา “ไตรทิพย์” ลั่น! ภาครัฐต้องเป็นผู้นำ ปลุกปั้นให้เกิดความสำเร็จ-เห็นผลในอนาคต

ในช่วง 20 กว่าปีที่ผ่านมา ประเทศไทยของเรามีความพยายามนำแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ TOD (Transit Oriented Development) ที่ได้รับการยอมรับในระดับโลก ในการนำมาใช้แก้ปัญหาของเมืองใหญ่ในประเทศต่างๆ ที่เคยมีแนวโน้มการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง และสภาพการจราจรในเมืองที่ติดขัด ไม่ว่าจะเป็นกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ และบอสตัน สหรัฐอเมริกา ล้วนประสบความสำเร็จในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟ จนกลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ยกระดับคุณภาพชีวิตคนเมือง…

2 years ago

พื้นที่ 5 ประเภทที่มีศักยภาพในการพัฒนาตามแนวทาง TOD

เราอาจจะเห็นความสำเร็จในการนำแนวทางการพัฒนาแบบ TOD (Transit Oriented Development) มาพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีขนส่งสาธารณะในเมืองหลวงของประเทศต่างๆ จนดูเหมือนว่าจะมีเพียงเฉพาะเมืองหลวงและเมืองรอบปริมณฑลเท่านั้นที่มีสิทธิ์ได้รับการพัฒนาตามแนวทาง TOD แต่ความจริงแล้วการพัฒนาไม่จำเป็นต้องทำในพื้นที่ดังกล่าว โดยเกณฑ์การพิจารณาพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงตามแนวทาง TOD มีอยู่ 5 ประเภทดังต่อไปนี้ 1.พื้นที่ศูนย์กลางคมนาคมประจำภูมิภาค สถานีขนส่งขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในศูนย์กลางเมืองใหญ่ของแต่ละภูมิภาค เป็นศูนย์เปลี่ยนถ่ายการคมนาคมขนส่งผู้โดยสารขนาดใหญ่ที่มีศักยภาพความคุ้มค่าในการพัฒนาตามแนวทาง TOD มากที่สุด ยกตัวอย่างในประเทศไทย…

2 years ago

มหานคร Guadalajara แห่งเม็กซิโก กับการเติบโตอย่างยั่งยืนด้วย TOD

สิ่งที่นักวางผังเมืองทั่วโลกวิตกกังวลมากที่สุด คือ การเติบโตของเมืองอย่างก้าวกระโดด จนแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามไม่ทันความต้องการของเอกชน และประชาชนที่หลั่งไหลเข้ามาอยู่ใจกลางเมืองจนเกินความควบคุมเหมือนเช่น มหานครกัวดาลาจารา (Guadalajara) ประเทศเม็กซิโก มหานครแห่งนี้ประสบปัญหาการเติบโตของเมืองอย่างก้าวกระโดด ถึง 381.5 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงระยะเวลา 30 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 – 2553…

2 years ago

ลดความเหลื่อมล้ำของคนเมืองด้วย TOD

ทุกครั้งที่เมืองมีการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นเส้นทางระบบขนส่ง ศูนย์การแพทย์ สวนสาธารณะ หรือแม้กระทั่งโครงการก่อสร้างพื้นที่เมืองใหม่ ย่อมเกิดการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด แต่ในขณะเดียวกันหากการพัฒนานั้น ไม่ได้คำนึงถึงแหล่งชุมชนดั้งเดิมที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงก็จะเกิด “ความเหลื่อมล้ำ” โดยไม่ได้ตั้งใจ ทำให้เกิดภาพแหล่งชุมชนเสื่อมโทรม ตั้งเทียบเคียงคอนโดมิเนียมสุดหรู อยู่ท่ามกลางตึกระฟ้า ชุมชนใหม่เต็มไปด้วยสิ่งอำนวยความสะดวก แต่ชุมชมดั้งเดิมกลับไม่มีสิ่งเหล่านั้นเลย ดังนั้นการนำแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ TOD (Transit Oriented Development)…

2 years ago