TOD

ส่อง TOD “RISE CITY” แห่ง ฝูโจว กับการสร้างพื้นที่สีเขียวรอบสถานีรถไฟ

การพัฒนา TOD (Transit-oriented Development) นอกจากจะช่วยเชื่อมโยงการเดินทางของคนได้อย่างสะดวก ปลอดภัยแล้ว อีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญคือ การจัดสรรพื้นที่สีเขียวเป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อให้ผู้สัญจรได้รับประโยชน์ทั้งจากความร่มรื่นของร่มไม้ รวมถึงเป็นการสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับพื้นที่รอบสถานีรถไฟ สำหรับพื้นที่ในกรุงเทพฯ นั้นมีสถานีรถไฟฟ้าที่ใกล้กับสวนสาธารณะ เช่น “สวนลุม” อยู่ระหว่างรถไฟฟ้าใต้ดิน 2 สถานี “สวนเบญจกิติ” อยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน 3 สถานี…

2 years ago

4 คอนเซ็ปต์การออกแบบที่จอดรถในเมืองสไตล์ TOD เน้นความสะดวกในการเดินทางของคนเมือง

ปัญหาเรื่องที่จอดรถภายในตัวเมืองและย่านที่อยู่อาศัย เป็นอีกหนึ่งปัญหาของเมืองใหญ่ทั่วโลก และทางออกของปัญหาที่ดีที่สุด คือ การออกแบบพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะตามแนวทางของ TOD (Transit Oriented Development) ซึ่งช่วยให้ประชาชนหันมาใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม เราไม่สามารถห้ามให้ประชาชน งดการใช้งานรถยนต์ส่วนบุคคลได้ทั้งหมด เพราะในบางกรณีระบบขนส่งสาธารณะ อาจไม่ตอบโจทย์ความสะดวกในการเดินทาง การบริหารจัดการพื้นที่จอดรถตามแนวทางของ TOD จึงจำเป็นต้องมีแนวทางการจัดสรรพื้นที่จอดรถอย่างเหมาะสม เพื่อคงไว้ในแนวทางการอำนวยความสะดวกในการเดินทางของทุกคนในเมือง โดยใช้…

2 years ago

TOD Standard 3.0 เพื่อชีวิตที่ดีกว่าร่วมกัน

นับตั้งแต่แนวคิด TOD (Transit Oriented Development) หรือการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ เป็นที่รู้จักตั้งแต่ปีค.ศ.1993 จนถึงวันนี้แนวทางการพัฒนาแบบ TOD ได้สร้างแนวทางการพัฒนาจนได้มาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ในชื่อ TOD Standard ซึ่งปัจจุบันพัฒนามาถึงเวอร์ชัน ที่ 3 หรือเรียกว่า TOD Standard 3.0 โดยให้มาตรฐานตามคะแนนรวมทั้งหมด…

2 years ago

TOD โคเปนเฮเกน กับการพัฒนาเส้นทางจักรยานอันดับหนึ่งของโลก

เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เป็นหนึ่งในเมืองที่มีการนำ TOD หรือแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ มาใช้ในการพัฒนาเมืองในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้เมืองนี้ มีอัตราการใช้จักรยานเดินทางสูงถึงร้อยละ 44 เปอร์เซ็นต์ ของการเดินทางสัญจรทั้งหมดของเมือง ในขณะที่เมืองใหญ่ที่นำแนวทาง TOD มาใช้ ส่วนใหญ่แล้วจะมีอัตราการใช้ระบบขนส่งสาธารณะมากกว่าการเดินทางในรูปแบบอื่น อะไรที่ทำให้ TOD ของเมืองโคเปนเฮเกน…

2 years ago

วิเคราะห์ TOD เมืองฉงชิ่ง มหานครแห่งการขนส่ง บนเส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่ 21

เมื่อพูดถึงเมืองฉงชิ่ง ประเทศจีน หลายคนอาจยังไม่รู้จักเท่ากับเมืองใหญ่อย่าง เซียงไฮ้ ปักกิ่ง แต่เมืองฉงชิ่ง เป็นเมืองที่มีความสำคัญในการพัฒนาประเทศจีน เพราะเป็น 1 ใน 12 เมืองใหญ่ ที่ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง และเป็น 1 ใน 4 เมืองสำคัญของจีน เซี่ยงไฮ ปักกิ่ง…

2 years ago

ทางเดินเชื่อมชีวิตจากแนวคิด TOD

ชีวิตคือการเดินทาง และทุกการเดินทางเริ่มต้นจากการเดินเท้าเสมอ ดังนั้นการมีเส้นทางเดินเท้าสวยงาม น่าเดิน จึงเป็นจุดเริ่มต้นการเดินทางที่ดีในทุกวันของคนเมือง แนวคิดการออกแบบพื้นที่โดยรอบสถานีขนส่งสาธารณะ TOD (Transit Oriented Development) จึงให้ความสำคัญกับการสร้างโครงข่ายทางเดินเท้าเพื่อเชื่อมต่อพื้นที่ต่างๆ ของเมืองเข้าสู่สถานีขนส่งสาธารณะ ด้วยโครงข่ายทางเดินเท้าที่ชักชวนให้ประชาชนเดินเท้าเข้ามาใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะ แทนการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล 1.เดินถึงสถานีภายใน 10 นาที แนวคิดในการออกแบบโครงข่ายทางเดินเท้าตามแบบ TOD นั้นมักวางโครงข่ายออกเป็น…

2 years ago

การพัฒนาพี้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะแบบ TOD ต่างกับ TAD อย่างไร

ในประเทศไทยเรามีความพยายามจัดวางแนวทางผังเมืองใหม่ ด้วยการนำแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะแบบ TOD (Transit Oriented Development) มาใช้นับตั้งแต่มีการพัฒนาเส้นทางรถไฟฟ้าระบบราง แต่การพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ก็ยังไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็นระบบการบริหารจัดการพี้นที่ตามแนวทางของ TOD อย่างเต็มที่ แต่มีแนวโน้มเข้าข่ายลักษณะที่เรียกว่า TAD (Transit Adjacent Development) ที่เน้นการพัฒนาแค่พื้นที่รอบสถานีรถไฟเพียงอย่างเดียว แต่ด้วยรูปแบบการพัฒนาที่อยู่ใกล้สถานีขนส่งมวลชน จึงทำให้หลายคนเกิดความสับสนว่าแท้จริงแล้วพื้นที่รอบสถานีรถไฟฟ้าของกรุงเทพมหานครนั้นควรเรียกว่า TOD…

3 years ago

หลัก 7 ประการของ TOD เพื่อชีวิตที่ดีของคนเมือง

"ลองคิดดูสิว่าจะดีแค่ไหน หากเราสามารถลดการใช้รถบนท้องถนนในเมืองใหญ่ได้ถึง 70 เปอร์เซ็นต์ แล้วนำพื้นที่ที่เหลือบนท้องถนนเป็นเลนสำหรับจักรยาน มีพื้นที่ทางเดินเท้าที่มากขึ้น มีพื้นที่ปลูกต้นไม้มากขึ้น" นั่นคือภาพฝันและคำพูดของ ปีเตอร์ คาลธอร์ป บิดาแห่ง TOD (Transit Oriented Development) ได้กล่าวเอาไว้ในรายการ TED Talk ปี 2017…

3 years ago